• PROF. DR. SIWATT

  • Director of NIDA Center for
    Research & Development of Disaster Prevention & Management

มัจจุราชเงียบในสายหมอก (ตอนที่ 3)

ท่านที่มีโอกาสได้แวะเวียนไปตามสี่แยกต่างๆในเขตกรุงเทพมหานครเชื่อว่าคงผ่านตาวัตถุทรงสี่เหลี่ยมหน้าตาประหลาดคล้ายกับเอาดาวเทียมสปุตนิกมาต่อเข้ากับตู้เย็น บางชิ้นก็มีส่วนหัวคล้ายกับเอาโลหะสามเหลี่ยมหน้าจั่วมาครอบบนตัวหุ่นยนต์ หลายท่านอาจสงสัยว่ามันคืออะไร? แล้วทำไมถึงมาตั้งอยู่แถวสี่แยก? อันที่จริงแล้วอุปกรณ์เหล่านี้คือเครื่องเก็บฝุ่นละอองในอากาศโดยมีหัวคัดแยกขนาดฝุ่นละอองทั้งที่มีขนาดใหญ่ซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 100 ไมครอน (1 ไมครอนมีค่าเท่ากับ 1 […] อ่านต่อ

เทคนิคที่ดี่สุดและแนวการปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุดในบริบทขององค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ (UNIDO) (ตอนที่ 1)

บ่อยครั้งที่เรามักได้ยินเรื่องราวข้อพิพาทระหว่างโรงงานกับชุมชนหรือนิคมอุตสาหกรรมกับเอ็นจีโอเกี่ยวกับปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมซึ่งเรียกได้ว่าแทบจะกระทบกับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนทุกเพศทุกวัยโดยไม่มีข้อยกเว้น ปัญหากลิ่นรบกวนจากโรงงานคือตัวอย่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากที่สุด ยังไม่รวมถึงความขัดแย้งเรื่องการแย่งทรัพยากรท้องถิ่นเช่นน้ำบาดาลซึ่งมีอยู่อย่างจำกัด การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกซึ่งส่งผลกระทบต่อภาวะโลกร้อนโดยรวม การรั่วไหลของสารพิษสู่สิ่งแวดล้อมทั้งโดยเจตนาและเกิดขึ้นด้วยเหตุสุดวิสัย ไม่ว่าจะเป็นด้วยเหตุผลกลใดสิ่งหนึ่งที่มิอาจปฏิเสธได้เลยคือความสัมพันธ์ระหว่าง “อุตสาหกรรม” กับ “สิ่งแวดล้อม” สองสิ่งที่เปรียบเสมือนน้ำกับน้ำมันซึ่งไม่มีวันลงรอยผสานเป็นเนื้อเดียวกันได้ตลอดระยะเวลาเกือบสองร้อยกว่าปีที่ผ่านมาตั้งแต่เริ่มมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมที่เมืองเบอร์มิงแฮมประเทศอังกฤษ […] อ่านต่อ

อะไรคือเป้าหมายที่แท้จริงของการวางระเบิดที่ราชประสงค์ (ตอนที่ 2)

ในฐานะที่เป็นทั้งนักวิทยาศาสตร์และพุทธศาสนิกชน ผมขอแสดงจุดยืนให้ชัดเจนก่อนว่าส่วนตัวแล้วศรัทธาในเรื่องผลของการกระทำมากกว่าอิทธิพลที่ได้รับจากดวงดาวบนฟากฟ้า ดังเช่นคำพูดของครูบาอาจารย์ที่ผมเคารพนับถือท่านกล่าวไว้ว่า “ดวงชะตาฟ้าลิขิต แต่เหนือลิขิตคือคุณธรรม (คุณ นะ ทำ)” แม้ต้นทุนของแต่ละคนจะแตกต่างกันไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ สติปัญญา […] อ่านต่อ

สิ่งที่อำมหิตกว่าระเบิดราชประสงค์

ผมกำลังเขียนบทความนี้ขณะที่กำลังเข้าร่วมการประชุมวิชาการในระดับนานาชาติด้าน ไดออกซิน หรือ Dioxin 2015 ที่กรุงเซาเปาโล ประเทศบราซิล ซึ่งจัดว่าเป็นหนึ่งในการรวมตัวของนักวิชาการที่ทำวิจัยเกี่ยวกับสารอินทรีย์ย่อยสลายยากที่ใหญ่หรือสาร POPs (Persistent […] อ่านต่อ

เมื่อ “โลกร้อน” กำลังเปลี่ยนระบบโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ

ผมกำลังเขียนบทความนี้ขณะที่กำลังเข้าร่วมการประชุมวิชาการในระดับนานาชาติซึ่งเกี่ยวกับการศึกษาบรรยากาศด้านล่างของพื้นผิวมหาสมุทร หรือที่เรียกเป็นชื่อย่อว่า SOLAS (Surface Ocean Lower Atmosphere Study) ซึ่งจัดขึ้นที่ คีล […] อ่านต่อ

น้ำท่วมฉับพลันโดย Meteotsunami

ในช่วงสองสามวันที่ผ่านมานี้หากจะกล่าวถึงเหตุภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ถูกกล่าวถึงในโลกโซเชียลมากที่สุดคงหนีไม่พ้นน้ำไหล่บ่าจากภูเขาเข้าถล่มตัวอำเภอศรีราชาและล่าสุดเมื่อวันพุธที่ 17 กันยายน 2558 ได้เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงระดับ 7.9 ถึง 8.3 ที่ชิลีเมื่อเวลา 05.54 […] อ่านต่อ

“ฮวงจุ้ย” กับโรคตึกป่วย เมื่ออภิปรัชญาพบกับวิทยาศาสตร์

สิ่งหนึ่งที่ทำให้ “ฮวงจุ้ย” หนึ่งในหลักวิชาอภิปรัชญา (Metaphysics) จีนระบบฟ้า ดิน คน ซึ่งถูกสืบทอดกันมานานกว่า 5,000 ปี […] อ่านต่อ

ออกนอกระบบเพื่อเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โอกาส หรือ ความเสี่ยง?

ท่ามกลางกระแสการขับเคลื่อนจากฝ่ายบริหารมหาวิทยาลัยของรัฐที่พยายามอย่างสุดลิ่มทิ่มประตูที่จะปรับเปลี่ยนสภาพจากมหาวิทยาลัยของรัฐซึ่งมีรูปแบบการบริหารจัดการแบบราชการทั้งหมด มาเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ตามความใน มาตรา 36 แห่ง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมายถึงการคงสภาพความเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐซึ่งไม่ใช่มหาวิทยาลัยเอกชน […] อ่านต่อ

สารก่อมะเร็งจากการเผาป่าใน 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบน

กลายเป็นสิ่งที่คุ้นชินเสมือนหนึ่งเป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมาเมื่อเข้าสู่ช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี เมื่อชาวเหนือรวมทั้งนักท่องเที่ยวบางส่วนต้องทนกับการสูดดมเอาหมอกควันอันเนื่องจากการเผาป่า เผาวัชพืชริมทาง รวมทั้งการเผาเศษชีวมวลจากการเกษตร ซึ่งแม้ว่าส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในเขตราชอาณาจักรไทย แต่ก็มีมลพิษทางอากาศจำนวนไม่น้อยที่ปลิวมากับสายลมจากประเทศเพื่อนบ้านกลายเป็นปัญหามลพิษข้ามพรมแดนระดับอาเซียน จากผลงานวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาระดับความเข้มข้นของกลุ่มสารก่อมะเร็งโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons) […] อ่านต่อ

ผลงานล่าสุดของทีมงาน หมอปั่นภาพ (Spin Doctors) ต่อการใช้ พ.ร.บ. นิรโทษกรรม

ผลงานล่าสุดของทีมงาน หมอปั่นภาพ (Spin Doctors) ต่อการใช้ พ.ร.บ. นิรโทษกรรมในการเป็นนกต่อเพื่อแอบแก้ไขเนื้อหาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ มาตรา 190 อาชีพ […] อ่านต่อ

Recent News

  • ไฟป่านราฯ ลุกลามเพิ่ม 2 อำเภอ ‘ยี่งอ-บาเจาะ’ วอด 200 ไร่

    อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ ลงดูความคืบหน้าการดับไฟป่าบางนรา พร้อมสั่งให้ปรับพื้นที่ขยายแนวกันไฟ และขุดเจาะแหล่งน้ำเพื่อสะดวกในการเข้าดับ ล่าสุดยังคงมีไฟหลงเหลือ 5 จุด และมีไฟป่าเพิ่มอีก 2 จุดที่ […] อ่านต่อ
  • พายุฤดูร้อนพัดถล่มหลายจว.ทำบ้านพังอื้อ

    พายุฤดูร้อนพัดถล่มหลายพื้นที่ ทำบ้านปชช.เสียหายหลายหลังคาเรือน จนท.เร่งช่วยเหลือ วันนี้(9 พ.ค.59) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เกิดเหตุพายุฤดูร้อนพัดถล่มจังหวัดบึงกาฬเมื่อช่วงเช้าที่ผ่านมา สร้างความเสียหายให้กับบ้านเรือนราษฎร10หลัง โดยบ้านทรงไทยถูกแรงลมพัดล้มลงมาทั้งหลัง นอกจากนี้ยังมีอีกหลายหลังรวมทั้งบ้าน […] อ่านต่อ

All news