• PROF. DR. SIWATT

  • Director of NIDA Center for
    Research & Development of Disaster Prevention & Management

ตำแหน่งทางวิชาการ: ศาสตราจารย์ญาณวิทย์ หรือ ศาสตราจารย์เงินเดือนขั้นสูง (ซี 11) อาจารย์ประจำวิชามลพิษทางอากาศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ตำแหน่งนักวิจัยด้านมลพิษทางอากาศประจำ Institute of Earth Environment, Chinese Academy of Sciences, Xi’an, China
ตำแหน่ง International Scientific Advisory Committee ด้านมลพิษทางอากาศประจำ Wessex Institute of Technology, UK
ตำแหน่ง International Scientific Advisory Committee ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศประจำ OMICS Group, USA
ตำแหน่งบริหาร: ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการป้องกันและจัดการภัยพิบัติ คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ตำแหน่งบริหาร: ผู้จัดการโครงการเสริมสร้างความตระหนักเกี่ยวกับแนวทางด้านเทคนิคที่ดีที่สุดและแนวการปฏิบัติ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุดสำหรับแหล่งกำเนิดประเภทโรงไฟฟ้าและหม้อน้ำอุตสาหกรรม (Demonstration of BAT and BEP in fossil fuel-fired utility and industrial boilers in response to the Stockholm Convention on POPs) ภายใต้การสนับสนุนจากองค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติยูนิโด (The United Nations Industrial Developments Organization-UNIDO)
ตำแหน่งบริการวิชาการสังคม: พิธีกรรายกรที่นี้เสรีไทย ออกกาศเป็นประจำทุกวันพฤหัสบดี 22.00 น – 23.00 น ที่ช่องสุวรรณภูมิ อำนวยการผลิตโดยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ปัจจุบัน ศ. ดร. ศิวัช ดำรงตำแหน่งเป็นคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในคณะอนุกรรมการอนุสัญญามินามาตะฯและอนุกรรมการด้านวิชาการแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศ

ประวัติการศึกษา
2550 Ph.D. Geography & Environmental Sciences School of Geography, Earth & Environmental Sciences, The University of Birmingham, United Kingdom
2544 M.Sc.
GPA: 3.89 Environmental Chemistry Graduate School of Earth & Environmental Sciences, Hokkaido University, Sapporo, Hokkaido, Japan
2542 B.Sc.
GPA: 3.72 Marine Chemistry School of Oceanography, Hokkaido University, Hakodate, Hokkaido Japan
2538 Grade 12 High School Demonstration High School of Gakugae University, Tokyo, Japan

งานฝึกอบรมอื่นๆ ระบุปี พ.ศ. สถานที่และหลักสูตรฝึกอบรม
2542 Individual training on chemical analysis of dissolved oxygen and nutrients, School of Oceanography, Hokkaido University, Japan
2542 Individual training on operating Finnigan Matt Mass Spectrometry , School of Oceanography, Hokkaido University, Japan
2543 Individual training on using Shimatzu DOC analyzer, Graduate School of Earth & Environmental Sciences, Hokkaido University, Japan
2543 Individual training on chemical analysis of humic acids and fulvic acids, Graduate School of Earth & Environmental Sciences, Hokkaido University, Japan

ใบประกาศนียบัตร ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
2545 Training Course on using Gas Chromatography Mass Spectrometry, Mass Spec UK, The University of Birmingham, UK
2549 Advanced Training Workshop on Southeast Asia Regional Carbon and Water Issues, 14 – 25 November 2006, Chung-Li and Kaohsiung, Taiwan
2550 Advanced Training Workshop on Autoclave, TOMY Co.Ltd, Tokyo, Japan
2557
2556 Postdoctoral certificate from Institute of Earth Environment, Chinese Academy of Sciences

ใบประกาศนียบัตรอื่นๆ
2552 BJT Business Japanese Proficiency Test Level J1
2544 TOEFL (Score Paper-base 600)
2535 Japanese Proficiency Test (Ikkyu Noryoku Shiken) First Level
2531 Piano Grade 7 certified by Trinity College of Music, London, UK
2529 Piano Grade 5 certified by Trinity College of Music, London, UK

ประวัติการทำงาน/สอน งานสอนและงานบริหาร
2549-255 อาจารย์ประจำวิชา มลพิษทางอากาศ คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2552-2552 อาจารย์ประจำวิชาสถิติคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2550 อาจารย์พิเศษช่วยสอนวิชา วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2550 อาจารย์พิเศษช่วยสอนวิชา ปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2550 สมาชิกสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2551 นักเขียนประจำ คอลัมน์หมุนทันโลก หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
2551 คณะทำงานทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินรายได้วิทยาเขตหาดใหญ่และรายได้ส่วนกลางประจำปีงบประมาณ 2552-2553
2553 อาจารย์ประจำวิชามลพิษทางอากาศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2553 ผู้เชี่ยวชาญด้านมลพิษทางอากาศประจำศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2554 ผู้จัดการโครงการการถ่ายทอดความรู้ด้านเทคนิคที่ดี่สุดและแนวการปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุดสำหรับหน่วยงานที่ใช้พลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิ
ฟอสซิลและหม้อต้มไอน้ำอุตสาหกรรมในประเทศไทย องค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ
2555 กรรมการที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์สำหรับการประชุมวิชาการนานาชาติมลพิษทางอากาศประจำสถาบันเทคโนโลยีเวสเซ็กส์ สหราชอณาจักร
2555 นักวิจัยประจำสถาบันวิจัยสิ่งแวดล้อมโลก สภาวิทยาศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีน เมืองซีอาน สาธารณรัฐประชาชนจีน

ทุนสำหรับพัฒนาศักยภาพนักวิจัยจากองค์กรต่างๆ
ทุน UNESCO Fellowships Programme in Support of Priority Programme Areas (2006-2007) – Request No. 314-1 (THAILAND) ในสาขาวิชา Atmospheric and Marine Chemistry ที่ Hong Kong Polytechnic University ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 – 30 มิถุนายน 2550

Blogs

  • มัจจุราชเงียบในสายหมอก (ตอนที่ 2)

    บ่อยครั้งที่เรามักได้ยินประโยคที่ว่า “การตั้งรับที่ดีที่สุด คือการเปิดเกมส์รุกที่ได้เปรียบ” ซึ่งแนวความคิดนี้ถูกนำมาประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางทั้งในแง่การวางตัวผู้เล่นของกุนซือด้านกีฬา การเตรียมยุทธวิธีในการรบของเหล่าเสนาธิการทหาร การกำหนดยุทธศาสตร์และวางแผนธุรกิจในภาคเอกชน รวมทั้งการบริหารจัดการความเสี่ยงในด้านเวชศาสตร์การป้องกัน (Preventive Medicine) ซึ่งให้ความสำคัญในด้าน […] อ่านต่อ
  • ภัยมืดจากอาวุธเคมีควบคุมมวลชน

    มนุษย์รู้จักนำเอาสารเคมีมาประยุกต์ใช้ในสงครามตั้งแต่ช่วง 500 ถึง 411 ปีก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งทิวซิดิดีส (Thucydides) นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกได้ระบุถึงการใช้กำมะถันเป็นอาวุธเคมีในสงครามระหว่างสปาร์ตากับเอเธนส์หรือที่รู้จักกันดีในนามสงครามเพโลพอนนีซัส (The Peloponnesian […] อ่านต่อ
  • สิ่งที่อำมหิตกว่าระเบิดราชประสงค์

    ผมกำลังเขียนบทความนี้ขณะที่กำลังเข้าร่วมการประชุมวิชาการในระดับนานาชาติด้าน ไดออกซิน หรือ Dioxin 2015 ที่กรุงเซาเปาโล ประเทศบราซิล ซึ่งจัดว่าเป็นหนึ่งในการรวมตัวของนักวิชาการที่ทำวิจัยเกี่ยวกับสารอินทรีย์ย่อยสลายยากที่ใหญ่หรือสาร POPs (Persistent […] อ่านต่อ
  • ไททานิคกับไทยเฉย

    ปริศนาของโศกนาฏกรรม ไททานิค ยังเป็นที่กังขาในหมู่นักประวัติศาสตร์จนถึงทุกวันนี้ สาเหตุของการอัปปางเป็น “เหตุสุดวิสัย” หรือเกิดจาก “ความประมาท” เลินเล่อของลูกเรือ ระบบการสื่อสารภายในเรือ กันแน่ […] อ่านต่อ

All blogs