• PROF. DR. SIWATT

  • Director of NIDA Center for
    Research & Development of Disaster Prevention & Management

สมมุติฐานของปีเตอร์ (Peter’s Hypothesis) กับวงจรอุบาทว์ในการบริหารงานของสถาบันอุดมศึกษาไทย

หลายท่านที่เป็นมนุษย์องค์กรไม่ว่าจะสังกัดหน่วยงานของภาครัฐหรือเอกชนคงเคยมีประสบการณ์กับความรู้สึกพะอืดพะอมกับการที่มีหัวหน้าซึ่งบริหารงานไม่ได้เรื่อง ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล โดยเฉพาะการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลในองค์กรซึ่งมีเรื่องของลำดับชั้น (Hierarchy) เข้ามาเกี่ยวข้อง เมื่อใดก็ตามที่เงยหน้าขึ้นมองดูบุคคลที่อยู่ในตำแหน่งที่สูงกว่าตน บ่อยครั้งที่เราต้องพบเจอกับผู้บริหารที่ไร้สมรรถนะ (incompetence) กระจัดกระจายอยู่ตามกรม กอง […] อ่านต่อ

การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) ในบริบทของโรงไฟฟ้าถ่านหิน ตอนที่ 1

นับเป็นนิมิตรหมายที่ดีจากท่าทีของรัฐบาลกับการแสดงความห่วงใยในประเด็นการมีส่วนร่วมของประชาชนเกี่ยวกับโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ โดยนายกรัฐมนตรี มีคำสั่งให้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือ สผ. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีหนังสือไปถึงกระทรวงพลังงาน เพื่อแจ้งให้ กฟฝ. ยกเลิกการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม […] อ่านต่อ

ภัยมืดจากอาวุธเคมีควบคุมมวลชน

มนุษย์รู้จักนำเอาสารเคมีมาประยุกต์ใช้ในสงครามตั้งแต่ช่วง 500 ถึง 411 ปีก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งทิวซิดิดีส (Thucydides) นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกได้ระบุถึงการใช้กำมะถันเป็นอาวุธเคมีในสงครามระหว่างสปาร์ตากับเอเธนส์หรือที่รู้จักกันดีในนามสงครามเพโลพอนนีซัส (The Peloponnesian […] อ่านต่อ

แนวทางประเมินความเสียหายน้ำมันรั่วในอ่าวไทย

บทความตอนนี้ผู้เขียนจะมาวิเคราะห์ต่อถึงแนวทางการประเมินความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อมรอบบริเวณที่ได้รับผลกระทบจากการปนเปื้อนของน้ำมันดิบในอ่าวไทย” แนวความคิดของเจมส์เลิฟล็อค (James Lovelock) [1-2] เปรียบโลกใบนี้เหมือนกับสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ซึ่งมีระบบการทำงานที่เต็มไปด้วยความสลับซับซ้อน อันเป็นที่มาของสมมุติฐานไกอา หรือ กาย่า (Gaia […] อ่านต่อ

ถอดบทเรียนน้ำมันรั่วจากอ่าวเม็กซิโกถึงอ่าวไทย ตอนที่ 3 : แนวทางฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อม

นอกจาก โทมัส อัลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison: ค.ศ. 1847 – […] อ่านต่อ

ถอดบทเรียนน้ำมันรั่วจากอ่าวเม็กซิโกถึงอ่าวไทย ตอนที่ 2 : ผลต่อระบบนิเวศทางทะเล

สำหรับบทความตอนที่ 2 ผู้เขียนจะวิเคราะห์ถึงความเสี่ยงจากอุบัติเหตุครั้งนี้ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเลของอ่าวไทยผ่านการทบทวนวรรณกรรมงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการรั่วไหลของน้ำมันดิบในทะเลทั่วโลก” ทันทีที่เกิดการรั่วไหล น้ำมันดิบจะลอยตัวขึ้นสู่ผิวน้ำเนื่องจากธรรมชาติของน้ำมันจะมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของน้ำมันและอุณหภูมิขณะที่มันกำลังลอยตัวขึ้นด้วย เช่นในกรณีที่เป็นน้ำมันดิบจากรัฐเท็กซัสที่ 16 องศาเซลเซียสจะมีค่าอยู่ที่ 873 […] อ่านต่อ

ถอดบทเรียนน้ำมันรั่วจากอ่าวเม็กซิโกถึงอ่าวไทย ตอนที่ 1 : สารก่อมะเร็ง

“จากกรณีท่อรับน้ำมันดิบกลางทะเลของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) หรือ PTTGC เกิดรั่วไหลน้ำมันดิบลงในทะเลจำนวน 50,000 […] อ่านต่อ

โลกโซเชียล

หลังจากถูกตัดขาดไปจากโลกโซเชียลและการใช้ Email ไปเกือบหนึ่งเดือนเต็มด้วยกฏข้อบังคับของสถานีวิจัย Great Wall ซึ่งใช้สัญญาณอินเตอร์เน็ตจากประเทศจีนส่งผลให้ไม่สามารถใช้ Facebook Gmail Google หรือแม้แต่ค้นหาข้อมูลอื่นใดได้เลยด้วยคุณภาพสัญญาณที่แปรผันตามสภาพดินฟ้าอากาศอันแปรปรวนของขั้วโลกใต้ […] อ่านต่อ

มัจจุราชเงียบในสายหมอก (ตอนที่ 1)

ภาพบรรยากาศเมื่อญาติผู้โดยสารสายการบิน Air Asia ‪QZ8501‬ ได้ยินประกาศเรื่องพบร่างผู้เสียชีวิตลอยอยู่ในทะเลยังคงสร้างความสลดหดหู่ให้กับหลายท่านแม้ว่าในเที่ยวบินลำนั้นจะไม่มีผู้โดยสารชาวไทยอยู่ด้วยก็ตาม ท้ายปีมักจะมีเรื่องเศร้าๆมาบั่นทอนความสุขของพวกเราอยู่เสมอ ไม่รวมถึงการจุดเทียนรำลึกครบรอบ 10 ปี สึนามิซึ่งเกิดขึ้นเมื่อวันที่ […] อ่านต่อ

มัจจุราชเงียบในสายหมอก (ตอนที่ 2)

บ่อยครั้งที่เรามักได้ยินประโยคที่ว่า “การตั้งรับที่ดีที่สุด คือการเปิดเกมส์รุกที่ได้เปรียบ” ซึ่งแนวความคิดนี้ถูกนำมาประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางทั้งในแง่การวางตัวผู้เล่นของกุนซือด้านกีฬา การเตรียมยุทธวิธีในการรบของเหล่าเสนาธิการทหาร การกำหนดยุทธศาสตร์และวางแผนธุรกิจในภาคเอกชน รวมทั้งการบริหารจัดการความเสี่ยงในด้านเวชศาสตร์การป้องกัน (Preventive Medicine) ซึ่งให้ความสำคัญในด้าน […] อ่านต่อ

Recent News

  • อุตุฯแคนาดา ชี้ ไฟป่าจ่อทุเลา หลังเผา ‘ฟอร์ต แมคเมอร์เรย์’ 20%

    เมื่อ 9 พ.ค. ไฟไหม้ป่าครั้งประวัติศาสตร์ที่เมืองฟอร์ต แมคเมอร์เรย์ รัฐแอลเบอร์ตา ในแคนาดายังรุนแรง หลังเริ่มปะทุเมื่อ 1 พ.ค. […] อ่านต่อ
  • พายุลูกเห็บถล่มจีนสร้างความเสียหายอื้อ

    เกิดเหตุพายุลูกเห็บตกในมณฑลตั้งชานของประเทศจีน ทำให้อาคารบ้านเรือน-ยานพาหนะได้รับความเสียหาย วันนี้ (2 พ.ค.59) เกิดเหตุพายุลูกเห็บตกในเทศมณฑลตั้งชาน เมืองหล่งหนาน มณฑลกานซู ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน เมื่อช่วงบ่ายวานนี้(1 […] อ่านต่อ

All news